แนวข้อสอบบรรจุครู การวัดและประเมินผลการศึกษา 35 ข้อ พร้อมเฉลย

1. การวัดผล (Measurement) หมายถึง
ก. กระบวนการกำหนดตัวเลข หรือสัญลักษณ์ให้กับบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณ หรือ คุณภาพของลักษณะที่วัด
ข. การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัดจากการเรียนการสอน
ค. การจัดระบบการเรียนการสอน ของครูผู้สอน
ง. กระบวนการออกแบบและจัดระบบการเรียนรู้ กำหนดจุดมุ่งหมาย เพื่อเตรียมไว้ให้ผู้เรียนได้ศึกษา

2. การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง
ก. การจัดระบบการเรียนการสอน ของครูผู้สอน
ข. การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัด โดยเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่นๆ หรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้
ค. กระบวนการกำหนดตัวเลข หรือสัญลักษณ์ให้กับบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณ หรือ คุณภาพของลักษณะที่วัด
ง. กระบวนการออกแบบและจัดระบบการเรียนรู้ กำหนดจุดมุ่งหมาย เพื่อเตรียมไว้ให้ผู้เรียนได้ศึกษา

3. ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของการวัดผล
ก. วัดผลเพื่อจัดอันดับ
ข. วัดผลเพื่อวินิจฉัย
ค. วัดเพื่อเปรียบเทียบ
ง. วัดเพื่อกระจายผล

4. ข้อใดสำคัญที่สุดของ หลักการวัดผล
ก. แปรผลได้ถูกต้อง
ข. มีความยุติธรรม
ค. วัดให้ตรงวัตถุประสงค์
ง. คุ้มค่า

5. ข้อใดไม่ใช่ ประเภทของการประเมินผลจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
ก. การประเมินก่อนเรียน
ข. การประเมินระหว่างเรียน
ค. การประเมินระหว่างบุคคล
ง. การประเมินผลรวมสรุป

6. จงเรียงลำดับขั้นตอนในการวัดและประเมินผล
ก. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวัด > เลือกและสร้างเครื่องมือ > ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด > ดำเนินการวัด > ตรวจและรวบรวมผลการวัด
ข. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวัด > เลือกและสร้างเครื่องมือ > ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด > ตรวจและรวบรวมผลการวัด > ประเมินผล
ค. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวัด > เลือกและสร้างเครื่องมือ > ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด > ดำเนินการวัด > ตรวจและรวบรวมผลการวัด > ประเมินผล > นำเสนอผลงาน
ง. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวัด > เลือกและสร้างเครื่องมือ > ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด > ดำเนินการวัด > ตรวจและรวบรวมผลการวัด > ประเมินผล

7. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดพฤติกรรมการเรียนรู้
ก. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ข. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านธรรมพิสัย
ค. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ง. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

8. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดพฤติกรรมการเรียนรู้
ก. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ข. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านธรรมพิสัย
ค. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ง. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

9. “พฤติกรรมที่เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด หรือพฤติกรรมทางด้านสมองของบุคคล” คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ก. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ข. พฤติกรรมด้านธรรมพิสัย
ค. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

10. “พฤติกรรมทางด้านจิตใจ ซึ่งจะเกี่ยวกับค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ และคุณธรรม” คือพฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ก. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ข. พฤติกรรมด้านธรรมพิสัย
ค. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

11. “พฤติกรรมการเรียนรู้ที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ” คือพฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ก. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ข. พฤติกรรมด้านธรรมพิสัย
ค. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

12. “คุณสมบัติของเครื่องมือ ที่สามารถวัดได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความเชื่อมั่น
ข. ความเที่ยงตรง
ค. อำนาจจำแนก
ง. ความเป็นปรนัย

13. “การหาความตรงเชิงเนื้อหา ที่ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้อง แล้วนำผลการตรวจสอบมาคำนวณหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถาม กับวัตถุประสงค์” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. VLT : Validity
ข. RLT : Reliability
ค. IOC : item objective congruence index
ง. DRN : Discrimination

14. การหาความตรงเชิงเนื้อหา ที่ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ต้องมีผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อยจำนวนกี่คน ในการพิจารณา
ก. 2 คน
ข. 3 คน
ค. 4 คน
ง. 5 คน

15. ถ้าข้อสอบ ข้อใดได้คะแนนเฉลี่ยตั้ง 0.50 ถึง 1.00 แสดงว่า
ก. ข้อสอบวัดได้ไม่ตรงจุดประสงค์
ข. ข้อสอบไม่มีความสอดคล้อง
ค. ข้อสอบวัดได้ตรงจุดประสงค์
ง. ข้อสอบต้องปรับปรุง

16. ถ้าข้อสอบ ข้อใดได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า 0.50 แสดงว่า
ก. ต้องนำข้อสอบไปปรับปรุงแก้ไข
ข. ข้อสอบไม่ต้องปรับปรุงแก้ไข
ค. ข้อสอบวัดได้ตรงจุดประสงค์
ง. ไม่ต้องนำข้อสอบไปปรับปรุงแก้ไข

17. ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) บอกให้ทราบว่า
ก. เครื่องมือหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถาม
ข. เครื่องมือวัดได้ไม่คงที่ ไม่ว่าจะใช้วัดกี่ครั้งกับกลุ่มเดิมก็ตาม
ค. เครื่องมือหาค่าความยากง่ายพอเหมาะ
ง. เครื่องมือวัดได้คงที่ ไม่ว่าจะใช้วัดกี่ครั้งกับกลุ่มเดิมก็ตาม

18. ค่าความยาก (Difficulty) บอกให้ทราบว่า
ก. ข้อสอบนั้นมีคนตอบถูกมาก
ข. ข้อสอบนั้นมีคนตอบถูกน้อย
ค. ข้อสอบนั้นมีคนตอบถูกมากหรือน้อย
ง. ข้อสอบนั้นมีคนตอบผิดมากหรือน้อย

19. ต้องใช้เครื่องมือวัดผลใด หาค่า “คนเก่งจะตอบถูก คนไม่เก่งจะตอบผิด”
ก. ค่าความสอดคล้อง (IOC : item objective congruence index)
ข. ค่าความเชื่อมั่น (Reliability)
ค. ค่าความยาก (Difficulty)
ง. ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination)

20. “สื่อให้เห็นถึงความชัดเจน ควมถูกต้องตามหลักวิชาการ และความเข้าใจตรงกัน” คือความหมายของข้อใด
ก. อำนาจจำแนก (Discrimination)
ข. ความเชื่อมั่น (Reliability)
ค. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ง. ความเป็นอัตนัย (Subjectivity)

21. “ความยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สึก เหตุผลของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ” คือความหมายของข้อใด
ก. อำนาจจำแนก (Discrimination)
ข. ความเชื่อมั่น (Reliability)
ค. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ง. ความเป็นอัตนัย (Subjectivity)

22. “ความยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สึก เหตุผลของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ” คือความหมายของข้อใด
ก. อำนาจจำแนก (Discrimination)
ข. ความเชื่อมั่น (Reliability)
ค. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ง. ความเป็นอัตนัย (Subjectivity)

23. “จำแนกสิ่งทั้งหลายออกเป็นพวก เพื่อสะดวกในการจำ เช่น คนสัตว์ สิ่งของ” คือการวัดในข้อใด
ก. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
ข. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)
ค. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
ง. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

24. “ประเมินเปรียบเทียบแล้วจัดอันดับ เช่น ดี เลว อ่อน ปานกลาง เก่ง สอบได้ที่ 1,2,3,” คือการวัดในข้อใด
ก. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
ข. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)
ค. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
ง. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

24. “1 ฟุต มี 12 นิ้ว, 1 วัน มี 24 ชั่วโมง, แบ่งเป็นช่วงเท่า ๆ กัน” คือการวัดในข้อใด
ก. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
ข. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)
ค. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
ง. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

25. “ความยาว ความกว้าง ความสูง การชั่งน้ำหนัก” คือการวัดในข้อใด
ก. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
ข. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)
ค. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
ง. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

26. ข้อใดคือความหมายของ ค่าเฉลี่ย (Mean, X)
ก. คะแนนที่อยู่กึ่งกลางของกลุ่ม
ข. ค่าสถิติตัวหนึ่งที่ใช้บรรยายสภาพกลุ่มหรือคะแนนของกลุ่ม ซึ่งค่าเฉลี่ยจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม โดยการนำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล
ค. คะแนนที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุด
ง. ค่าสถิติที่ใช้วัดการกระจายของคะแนนในกลุ่ม

 

27. ข้อใดคือความหมายของ มัธยฐาน (Mediam, mdn)
ก. คะแนนที่อยู่กึ่งกลางของกลุ่ม
ข. ค่าสถิติตัวหนึ่งที่ใช้บรรยายสภาพกลุ่มหรือคะแนนของกลุ่ม ซึ่งค่าเฉลี่ยจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม โดยการนำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล
ค. คะแนนที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุด
ง. ค่าสถิติที่ใช้วัดการกระจายของคะแนนในกลุ่ม

28. ข้อใดคือความหมายของ ฐานนิยม (Mod)
ก. คะแนนที่อยู่กึ่งกลางของกลุ่ม
ข. ค่าสถิติตัวหนึ่งที่ใช้บรรยายสภาพกลุ่มหรือคะแนนของกลุ่ม ซึ่งค่าเฉลี่ยจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม โดยการนำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล
ค. คะแนนที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุด
ง. ค่าสถิติที่ใช้วัดการกระจายของคะแนนในกลุ่ม

29. ข้อใดคือความหมายของ ความเบี่ยงเบนมาตฐาน (Standard deviation, SD)
ก. คะแนนที่อยู่กึ่งกลางของกลุ่ม
ข. ค่าสถิติตัวหนึ่งที่ใช้บรรยายสภาพกลุ่มหรือคะแนนของกลุ่ม ซึ่งค่าเฉลี่ยจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม โดยการนำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล
ค. คะแนนที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุด
ง. ค่าสถิติที่ใช้วัดการกระจายของคะแนนในกลุ่ม

30. พฤติกรรมด้านสมองและสติปัญญา คือข้อใด
ก. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ข. จิตพิสัย (Affective Domain)
ค. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
ง. ปฎิบัติพิสัย (Psychomotor Domain)

31. การเรียนรู้ทางด้านจิตใจ คือข้อใด
ก. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ข. จิตพิสัย (Affective Domain)
ค. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
ง. ปฎิบัติพิสัย (Psychomotor Domain)

32. พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการทักษะในการเคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่างๆ คือข้อใด
ก. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ข. จิตพิสัย (Affective Domain)
ค. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
ง. ปฎิบัติพิสัย (Psychomotor Domain)

33. เครื่องมือในการให้คะแนน ซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่างๆ ของความสำเร็จในการเรียน คือความหมายของข้อใด
ก. หน่วยกิต (Credit)
ข. การทดสอบ (Testing)
ค. การประเมินรวม (Summative Assessment)
ง. รูบริค (Rubric)

34. การให้คะแนนแบบใดมีความเป็นปรนัยสูง ในการตรวจให้คะแนน
ก. หน่วยกิต (Credit)
ข. การทดสอบ (Testing)
ค. การประเมินรวม (Summative Assessment)
ง. รูบริค (Rubric)

35. ค่าน้ำหนักที่กำหนดให้ในหน่วยการเรียนแต่ละรายวิชา คือความหมายของข้อใด
ก. หน่วยกิต (Credit)
ข. การทดสอบ (Testing)
ค. การประเมินรวม (Summative Assessment)
ง. รูบริค (Rubric)

เฉลยข้อสอบบรรจุครู วิชาการศึกษา เรื่อง การจัดการเรียนรู้ 

แนวข้อสอบ การวัดและประเมินผลการศึกษา

1. การวัดผล (Measurement) หมายถึง
ก. กระบวนการกำหนดตัวเลข หรือสัญลักษณ์ให้กับบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณ หรือ คุณภาพของลักษณะที่วัด

2. การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง
ข. การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัด โดยเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่นๆ หรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้

3. ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของการวัดผล
ง. วัดเพื่อกระจายผล

4. ข้อใดสำคัญที่สุดของ หลักการวัดผล
ค. วัดให้ตรงวัตถุประสงค์

5. ข้อใดไม่ใช่ ประเภทของการประเมินผลจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน ค. การประเมินระหว่างบุคคล

6. จงเรียงลำดับขั้นตอนในการวัดและประเมินผล
ง. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวัด > เลือกและสร้างเครื่องมือ > ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด >ดำเนินการวัด > ตรวจและรวบรวมผลการวัด > ประเมินผล

7. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดพฤติกรรมการเรียนรู้
ข. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านธรรมพิสัย

8. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดพฤติกรรมการเรียนรู้
ข. เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านธรรมพิสัย

9. “พฤติกรรมที่เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด หรือพฤติกรรมทางด้านสมองของบุคคล” คือพฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ก. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย

10. “พฤติกรรมทางด้านจิตใจ ซึ่งจะเกี่ยวกับค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ และคุณธรรม” คือพฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ค. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย

11. “พฤติกรรมการเรียนรู้ที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ” คือพฤติกรรมการเรียนรู้ใด
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย

12. “คุณสมบัติของเครื่องมือ ที่สามารถวัดได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด” มีความหมายตรงกับข้อใด
ข. ความเที่ยงตรง

13. “การหาความตรงเชิงเนื้อหา ที่ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้อง แล้วนำผลการตรวจสอบมาคำนวณหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถาม กับวัตถุประสงค์” มีความหมายตรงกับข้อใด
ค. IOC : item objective congruence index

14. การหาความตรงเชิงเนื้อหา ที่ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ต้องมีผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อยจำนวนกี่คน ในการพิจารณา
ข. 3 คน

15. ถ้าข้อสอบ ข้อใดได้คะแนนเฉลี่ยตั้ง 0.50 ถึง 1.00 แสดงว่า
ค. ข้อสอบวัดได้ตรงจุดประสงค์

16. ถ้าข้อสอบ ข้อใดได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า 0.50 แสดงว่า
ก. ต้องนำข้อสอบไปปรับปรุงแก้ไข

17. ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) บอกให้ทราบว่า
ง. เครื่องมือวัดได้คงที่ ไม่ว่าจะใช้วัดกี่ครั้งกับกลุ่มเดิมก็ตาม

18. ค่าความยาก (Difficulty) บอกให้ทราบว่า
ค. ข้อสอบนั้นมีคนตอบถูกมากหรือน้อย

19. ต้องใช้เครื่องมือวัดผลใด หาค่า “คนเก่งจะตอบถูก คนไม่เก่งจะตอบผิด”
ง. ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination)

20. “สื่อให้เห็นถึงความชัดเจน ควมถูกต้องตามหลักวิชาการ และความเข้าใจตรงกัน” คือความหมายของข้อใด
ค. ความเป็นปรนัย (Objectivity)

21. “ความยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สึก เหตุผลของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ” คือความหมายของข้อใด
ง. ความเป็นอัตนัย (Subjectivity)

22. “ความยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สึก เหตุผลของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ” คือความหมายของข้อใด
ง. ความเป็นอัตนัย (Subjectivity)

23. “จำแนกสิ่งทั้งหลายออกเป็นพวก เพื่อสะดวกในการจำ เช่น คนสัตว์ สิ่งของ” คือการวัดในข้อใด
ก. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)

24. “ประเมินเปรียบเทียบแล้วจัดอันดับ เช่น ดี เลว อ่อน ปานกลาง เก่ง สอบได้ที่ 1,2,3,” คือการวัดในข้อใด
ข. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)

24. “1 ฟุต มี 12 นิ้ว, 1 วัน มี 24 ชั่วโมง, แบ่งเป็นช่วงเท่า ๆ กัน” คือการวัดในข้อใด
ค. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)

25. “ความยาว ความกว้าง ความสูง การชั่งน้ำหนัก” คือการวัดในข้อใด
ง. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

26. ข้อใดคือความหมายของ ค่าเฉลี่ย (Mean, X)
ข. ค่าสถิติตัวหนึ่งที่ใช้บรรยายสภาพกลุ่มหรือคะแนนของกลุ่ม ซึ่งค่าเฉลี่ยจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม โดยการนำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล

27. ข้อใดคือความหมายของ มัธยฐาน (Mediam, mdn)
ก. คะแนนที่อยู่กึ่งกลางของกลุ่ม

28. ข้อใดคือความหมายของ ฐานนิยม (Mod)
ค. คะแนนที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุด

29. ข้อใดคือความหมายของ ความเบี่ยงเบนมาตฐาน (Standard deviation, SD) ง. ค่าสถิติที่ใช้วัดการกระจายของคะแนนในกลุ่ม

30. พฤติกรรมด้านสมองและสติปัญญา คือข้อใด
ก. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)

31. การเรียนรู้ทางด้านจิตใจ คือข้อใด
ข. จิตพิสัย (Affective Domain)

32. พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการทักษะในการเคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่างๆ คือข้อใด
ค. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

33. เครื่องมือในการให้คะแนน ซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่างๆ ของความสำเร็จในการเรียน คือความหมายของข้อใด
ง. รูบริค (Rubric)

34. การให้คะแนนแบบใดมีความเป็นปรนัยสูง ในการตรวจให้คะแนน
ง. รูบริค (Rubric)

35. ค่าน้ำหนักที่กำหนดให้ในหน่วยการเรียนแต่ละรายวิชา คือความหมายของข้อใด
ก. หน่วยกิต (Credit)

 

ขอขอบคุณ ผู้แต่ง เว็บไซค์ครูเชียงรายดอทเน็ต

คำที่ค้นหาบ่อย สอบราชการ สอบ สอบ กพ. ติวสอบ เตรียมสอบ แนวข้อสอบ สอบท้องถิ่น สมัครสอบ ท้องถิ่น อบต. เทศบาล ประกาศสอบ งานราชการ กศน. สมัครสอบ กศน. ข้าราชการ ครู กศน. ครูผู้ช่วย นักจดการงานทั่วไป นักวิชาการศึกษา คู่มือสอบ สอบตำรวจ ทหาร เปิดสอบ สอบ ทดสอบ ข้อสอบ GAT PAT O-NET N-NET