แนวข้อสอบบรรจุครู จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว 35 ข้อ พร้อมเฉลย

1. Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษาใด 
ก. ภาษากรีก (Psyche + Logos)
ข. ภาษาสเปน (Psycho + Logy)
ค. ภาษารัสเซีย (Psyche + Logos)
ง. ภาษาบาลี (Psycho + Logy)

2. ในปัจจุบันความหมายของ จิตวิทยา หมายถึงข้อใด 
ก. การศึกษาที่เกี่ยวกับเรื่องวิญญาณ
ข. วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ค. การศึกษาที่เกี่ยวความคิดของคนยุคโบราณ
ง. วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ต่างดาว

3. พฤติกรรม (Behavior) หมายถึงข้อใด 
ก. การกระทำหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์
ข. การกระทำหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ โดยรู้ตัว
ค. การกระทำหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ โดยไม่รู้ตัว
ง. การกระทำหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ โดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว

4. พฤติกรรม (Behavior) แบ่งได้เป็นสองประเภท คือ 
ก. 1.พฤติกรรมภายใน (Behavior Overt), 2.พฤติกรรมภายนอก (Behavior Covert)
ข. 1.พฤติกรรมภายนอกจิตใจ (Behavior Overt), 2.พฤติกรรมภายในจิตใจ (Behavior
Covert)
ค. 1.พฤติกรรมภายในจิตใจ (Overt Behavior), 2.พฤติกรรมภายนอกจิตใจ (Covert Behavior)
ง. 1.พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior), 2.พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior)

5. พฤติกรรมที่สังเกตได้วัดได้อย่างชัดเจน ตรงกับพฤติกรรมใด 
ก. พฤติกรรมภายใน (Behavior Overt)
ข. พฤติกรรมภายนอกจิตใจ (Behavior Overt)
ค. พฤติกรรมภายในจิตใจ (Overt Behavior)
ง. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior)

6. พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นหรือวัดได้โดยตรง ถ้าไม่แสดงออกไม่มีใครรู้ ตรงกับพฤติกรรมใด 
ก. พฤติกรรมภายใน (Behavior Overt)
ข. พฤติกรรมภายนอกจิตใจ (Behavior Overt)
ค. พฤติกรรมภายในจิตใจ (Overt Behavior)
ง. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior)

7. ผู้ใดได้รับยกย่องให้เป็น บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง ในกลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism)
ก. วิลเฮล์ม วุ้นต์
ข. จอห์น ดิวอี้
ค. โฮเวิรด์ การ์ดเนอร์
ง. ซิกมันด์ ฟรอยด์

8. นักจิตวิทยากลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism) ผู้ที่ริเริ่มแนวคิดที่ว่า “วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการเรียนรู้” มีใครบ้าง
ก. วิลเลี่ยม เจมส์, จอห์น ดิวอี้
ข. วิลเฮล์ม วุ้นต์, โฮเวิรด์ การ์ดเนอร์
ค. โฮเวิรด์ การ์ดเนอร์, ซิกมันด์ ฟรอยด์
ง. วิลเฮล์ม วุ้นต์, ซิกมันด์ ฟรอยด์

9. ครูสมหมายจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้กับนักเรียนได้ลงมือปฎิบัติเอง เป็นการเรียนรู้ในแบบใด
ก. การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ข. การเรียนรู้แบบศูนย์กลาง
ค. การเรียนรู้แบบ Learning by doing
ง. การเรียนรู้แบบ E-learning

10. ผู้นำคนสำคัญของนักจิตวิทยา กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) คือใคร
ก. วิลเลี่ยม เจมส์
ข. ซิกมันด์ ฟรอยด์
ค. โฮเวิรด์ การ์ดเนอร์
ง. วิลเฮล์ม วุ้นต์

11. อีโก้ (Ego) หมายถึงข้อใด
ก. เป็นมโนธรรมที่คอยเตือน Ego ว่าสิ่งนั้นผิดจงอย่าทำ
ข. เป็นส่วนประกอบ ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ค. เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม อันเกิดจากความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ให้แสดงออกในทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของสังคม
ง. เป็นตัวที่มีหน้าที่สร้างอุดมคติที่พึงปรารถนาของสังคมเป็นมโนธรรมที่คอยเตือน Ego ว่าสิ่งนั้นผิดจงอย่าทำ

12. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) หมายถึงข้อใด
ก. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) เป็นมโนธรรม ที่บอกถึงความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ข. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) เป็นส่วนประกอบ ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ค. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม อันเกิดจากความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ให้แสดงออกในทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของสังคม
ง. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) เป็นตัวที่มีหน้าที่สร้างอุดมคติที่พึงปรารถนาของสังคมเป็นมโนธรรมที่คอยเตือน Ego ว่าสิ่งนั้นผิดจงอย่าทำ

13. แนวคิดที่ว่า “พฤติกรรมจะต้องมีสาเหตุมากระตุ้น” เป็นแนวคิดของกลุ่มนักจิตวิทยากลุ่มใด
ก. กลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism)
ข. กลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism)
ค. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
ง. กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

13. ผู้นำในกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) คือนักจิตวิทยาคนใด
ก. จอห์น บี วัตสัน
ข. โรเจอร์ส
ค. มาสโลว์
ง. วิลเฮล์ม วุ้นต์

14. นักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism) เชื่อว่า
ก. มนุษย์ทุกคนวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการเรียนรู้
ข. มนุษย์ทุกคนพยายามปรับปรุงตัวเองให้เป็นผู้ที่มีความสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่ออนาคตของผู้เรียนมากที่สุดก็คือ กรรมวิธีแสวงหาความรู้
ค. มนุษย์มีส่วนที่จะทำการควบคุมพฤติกรรม ของตนเองอันเกิดจากความต้องการพื้นฐาน ให้แสดงออกในทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของสังคม
ง. มนุษย์มีส่วนที่จะทำการควบคุมพฤติกรรม ที่สร้างอุดมคติที่พึงปรารถนาของสังคมเป็นมโนธรรมที่คอยเตือน ว่าสิ่งนั้นผิดจงอย่าทำ

15. ผู้นำในกลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism) คือนักจิตวิทยาคนใด
ก. จอห์น บี วัตสัน, วิลเฮล์ม วุ้นต์
ข. โรเจอร์ส, มาสโลว์
ค. มาสโลว์, วิลเฮล์ม วุ้นต์
ง. วิลเฮล์ม วุ้นต์, โรเจอร์ส

16. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory) เน้นในเรื่องใด
ก. เน้นกระบวนการทางปัญญา
ข. เน้นกระบวนการทางความคิด
ค. เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด
ง. เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิดและวิทยาศาสตร์

17. การเรียนรู้ (Learning) มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. การเปลี่ยนแปลงจิตใจ อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์
ข. การเปลี่ยนแปลงความคิด อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์
ค. การเปลี่ยนแปลงความรู้สึก อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์และการฝึกหัด
ง. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์และการฝึกหัด เป็นการเปลี่ยนที่ถาวรหรือค่อนข้างถาวร

18. ข้อใดไม่ใช่กฎการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 กฎ ของธอร์นไดค์ (Thorndike)
ก. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
ข. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
ค. กฎแห่งผล หรือกฎแห่งผลตอบสนอง (Law of Effect)
ง. กฎแห่งการเรียนรู้ (Law of learning )

19. ทฤษฎีเสริมแรงเป็นของนักจิตวิทยาผู้ใด
ก. ธอร์นไดค์
ข. สกินเนอร์
ค. โรเจอร์ส
ง. โคลเลอร์

20. กฎการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ตรงกับข้อใด
ก. การเรียนรู้ที่เน้นส่วนรวมไปหาส่วนย่อย
ข. การเรียนรู้ที่เน้นส่วนย่อยไปหาส่วนรวม
ค. การเรียนรู้ด้วยการเสริมแรง
ง. การเรียนรู้แบบโปรแกรม

21. องค์ประกอบของพัฒนาการที่ว่า “ความเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ พร้อมที่จะทำงานตามหน้าที่” หมายถึงข้อใด
ก. ความเข้าใจ
ข. การเรียนรู้
ค. วุฒิภาวะ
ง. อารมณ์

22. ความแตกต่างของบุคคลเกิดจาก 2 สิ่ง คือ
ก. 1.การเรียนรู้, 2.วุฒิภาวะ
ข. 1.พันธุกรรม, 2.สิ่งแวดล้อม
ค. 1.อารมณ์, 2.สติปัญญา
ง. 1.หัวใจ, 2.สมอง

22. ทฤษฎีบุคลิคภาพ เป็นของนักจิตวิทยาผู้ใด
ก. ธอร์นไดค์
ข. พาฟลอฟ 
ค. สกินเนอร์
ง. ซิกมันด์ ฟรอยด์

23. บิดาแห่งการแนะแนวอาชีพคือใคร
ก. ธอร์นไดค์
ข. พาฟลอฟ 
ค. แฟรงค์ พาร์สัน
ง. ซิกมันด์ ฟรอยด์

24. บิดาแห่งการแนะแนวอาชีพคือใคร
ก. ธอร์นไดค์
ข. พาฟลอฟ 
ค. แฟรงค์ พาร์สัน
ง. ซิกมันด์ ฟรอยด์

25. ข้อใดคือความหมายของคำว่า “จิตวิทยาแนะแนว”
ก. เป็นการนำจิตวิทยาเข้ามาใช้เพื่อการแนะแนว เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักรักคนรอบข้าง
ข. เป็นการนำจิตวิทยาเข้ามาใช้เพื่อการแนะแนว เป็นเครื่องมือแนะนำวิธีการเรียนในโรงเรียนให้ได้เกรดสูงๆ
ค. เป็นการนำจิตวิทยาเข้ามาใช้เพื่อการแนะแนว เป็นเครื่องมือที่สร้างค่านิยมความสำเร็จทางสังคมให้กับผู้เรียน
ง. เป็นการนำเอาหลักจิตวิทยาเข้ามาใช้เพื่อการแนะแนว เป็นเครื่องมือทางจิตวิทยาเข้ามาช่วยให้ครูได้เข้าใจเด็ก และช่วยให้เด็กเข้าใจตนเองเป็นสำคัญ

26. ข้อใดเป็นเป้าหมายหลักของการแนะแนวในสถานศึกษา
ก. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักรักและเห็นคุณค่าในตนเอง
ข. แนะนำวิธีการเรียนในโรงเรียนให้ได้เกรดสูงๆ
ค. สร้างค่านิยมความสำเร็จทางสังคมให้กับผู้เรียน
ง. เพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนในการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย

27. หลักของการแนะแนวในโรงเรียนจัดตั้งขึ้นเพื่อใคร
ก. เพื่อผู้ปกครอง
ข. เพื่อสถานศึกษา
ค. เพื่อนักเรียนทุกคน
ง. เพื่อครูนำไปพัฒนาผลงานทางวิชาการและวิจัย

28. ป้องกันปัญหา แก้ปัญหา ส่งเสริมและพัฒนา เป็นสิ่งใดของการแนะแนว
ก. ปรัชญาของการแนะแนว
ข. หลักของการแนะแนว
ค. เป้าหมายของการแนะแนว
ง. ขอบข่ายของการแนะแนว

29. ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายของการแนะแนว
ก. การแนะแนวครูผู้สอน
ข. การแนะแนวการศึกษา
ค. การแนะแนวอาชีพ
ง. การแนะแนวส่วนตัวและสังคม

30. ข้อใดคือหัวใจหลัก ของการบริการแนะแนว
ก. การบริการให้คำปรึกษา
ข. การบริการวางตัวบุคคล
ค. การบริการติดตามประเมินผล
ง. การบริการรวมรวมข้อมูล

31. ข้อใดคือความหมาย ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่ถูกต้องที่สุด
ก. เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน
ข. เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน มีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้องหรือบุคลากรภายนอก
ค. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน  เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน  พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทำงานที่ชัดเจน รวมทั้งการสนับสนุน  ส่งเสริมจากโรงเรียน
ง. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน  เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน  พร้อมด้วยวิธีการ และเครื่องมือการทำงานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลัก ในการดำเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง หรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริมจากโรงเรียน

32. ลำดับขั้นตอนกระบวนการดำเนินงาน ตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
ก. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล > การคัดกรองนักเรียน > การส่งเสริมนักเรียน > การส่งต่อ > การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ข. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล > การคัดกรองนักเรียน > การส่งเสริมนักเรียน > การป้องกันและแก้ไขปัญหา > การส่งต่อ
ค. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล > การคัดกรองนักเรียน > การป้องกันและแก้ไขปัญหา > การส่งต่อ > การส่งเสริมนักเรียน
ง. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล > การป้องกันและแก้ไขปัญหา > การคัดกรองนักเรียน > การส่งเสริมนักเรียน > การส่งต่อ

33. การคัดกรองนักเรียน ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ต้องแบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม
ก. แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ
ข. แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มมีปัญหา
ค. แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มมีปัญหา กลุ่มเสี่ยง
ง. แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มมีปัญหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มยากจน

34. การประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) ถือว่าเป็นขั้นตอนใด ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ก. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ข. การคัดกรองนักเรียน
ค. การส่งเสริมนักเรียน
ง. การป้องกันและแก้ไขปัญหา

35. การเยี่ยมบ้านนักเรียน ถือว่าเป็นขั้นตอนใด ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ก. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ข. การคัดกรองนักเรียน
ค. การส่งเสริมนักเรียน
ง. การป้องกันและแก้ไขปัญหา

เฉลยข้อสอบบรรจุครู วิชาการศึกษา เรื่อง จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว

1. Psychology มีรากศัพท์มาจากภาษาใด 
ก. ภาษากรีก (Psyche + Logos)

2. ในปัจจุบันความหมายของ จิตวิทยา หมายถึงข้อใด 
ข. วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3. พฤติกรรม (Behavior) หมายถึงข้อใด 
ง. การกระทำหรือกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ โดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว

4. พฤติกรรม (Behavior) แบ่งได้เป็นสองประเภท คือ 
ง. 1.พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior), 2.พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior)

5. พฤติกรรมที่สังเกตได้วัดได้อย่างชัดเจน ตรงกับพฤติกรรมใด 
ง. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior)

6. พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นหรือวัดได้โดยตรง ถ้าไม่แสดงออกไม่มีใครรู้ ตรงกับพฤติกรรมใด 
ง. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior)

7. ผู้ใดได้รับยกย่องให้เป็น บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง ในกลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism)
ก. วิลเฮล์ม วุ้นต์

8. นักจิตวิทยากลุ่มหน้าที่ทางจิต (Functionalism) ผู้ที่ริเริ่มแนวคิดที่ว่า “วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการเรียนรู้” มีใครบ้าง
ก. วิลเลี่ยม เจมส์, จอห์น ดิวอี้

9. ครูสมหมายจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้กับนักเรียนได้ลงมือปฎิบัติเอง เป็นการเรียนรู้ในแบบใด
ค. การเรียนรู้แบบ Learning by doing

10. ผู้นำคนสำคัญของนักจิตวิทยา กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) คือใคร
ข. ซิกมันด์ ฟรอยด์

11. อีโก้ (Ego) หมายถึงข้อใด
ค. เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม อันเกิดจากความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ให้แสดงออกในทางที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของสังคม

12. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) หมายถึงข้อใด
ง. ซุปเปอร์อีโก้ (SuperEgo) เป็นตัวที่มีหน้าที่สร้างอุดมคติที่พึงปรารถนาของสังคมเป็นมโนธรรมที่คอยเตือน Ego ว่าสิ่งนั้นผิดจงอย่าทำ

13. แนวคิดที่ว่า “พฤติกรรมจะต้องมีสาเหตุมากระตุ้น” เป็นแนวคิดของกลุ่มนักจิตวิทยากลุ่มใด
ง. กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)

13. ผู้นำในกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) คือนักจิตวิทยาคนใด
ก. จอห์น บี วัตสัน

14. นักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism) เชื่อว่า
ข. มนุษย์ทุกคนพยายามปรับปรุงตัวเองให้เป็นผู้ที่มีความสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่ออนาคตของผู้เรียนมากที่สุดก็คือ กรรมวิธีแสวงหาความรู้

15. ผู้นำในกลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism) คือนักจิตวิทยาคนใด
ข. โรเจอร์ส, มาสโลว์

16. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory) เน้นในเรื่องใด
ค. เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด

17. การเรียนรู้ (Learning) มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ง. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์และการฝึกหัด เป็นการเปลี่ยนที่ถาวรหรือค่อนข้างถาวร

18. ข้อใดไม่ใช่กฎการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 กฎ ของธอร์นไดค์ (Thorndike)
ง. กฎแห่งการเรียนรู้ (Law of learning )

19. ทฤษฎีเสริมแรงเป็นของนักจิตวิทยาผู้ใด
ข. สกินเนอร์

20. กฎการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ตรงกับข้อใด
ก. การเรียนรู้ที่เน้นส่วนรวมไปหาส่วนย่อย

21. องค์ประกอบของพัฒนาการที่ว่า “ความเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ พร้อมที่จะทำงานตามหน้าที่” หมายถึงข้อใด
ค. วุฒิภาวะ

22. ความแตกต่างของบุคคลเกิดจาก 2 สิ่ง คือ
ข. 1.พันธุกรรม, 2.สิ่งแวดล้อม

22. ทฤษฎีบุคลิคภาพ เป็นของนักจิตวิทยาผู้ใด
ง. ซิกมันด์ ฟรอยด์

23. บิดาแห่งการแนะแนวอาชีพคือใคร
ค. แฟรงค์ พาร์สัน

24. บิดาแห่งการแนะแนวอาชีพคือใคร
ค. แฟรงค์ พาร์สัน

25. ข้อใดคือความหมายของคำว่า “จิตวิทยาแนะแนว”
ง. เป็นการนำเอาหลักจิตวิทยาเข้ามาใช้เพื่อการแนะแนว เป็นเครื่องมือทางจิตวิทยาเข้ามาช่วยให้ครูได้เข้าใจเด็ก และช่วยให้เด็กเข้าใจตนเองเป็นสำคัญ

26. ข้อใดเป็นเป้าหมายหลักของการแนะแนวในสถานศึกษา
ก. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักรักและเห็นคุณค่าในตนเอง

27. หลักของการแนะแนวในโรงเรียนจัดตั้งขึ้นเพื่อใคร
ค. เพื่อนักเรียนทุกคน

28. ป้องกันปัญหา แก้ปัญหา ส่งเสริมและพัฒนา เป็นสิ่งใดของการแนะแนว
ค. เป้าหมายของการแนะแนว

29. ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายของการแนะแนว
ก. การแนะแนวครูผู้สอน

30. ข้อใดคือหัวใจหลัก ของการบริการแนะแนว
ก. การบริการให้คำปรึกษา

31. ข้อใดคือความหมาย ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่ถูกต้องที่สุด
ง. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน  เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างขั้นตอน  พร้อมด้วยวิธีการ และเครื่องมือการทำงานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลัก ในการดำเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง หรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริมจากโรงเรียน

32. ลำดับขั้นตอนกระบวนการดำเนินงาน ตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
ข. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล > การคัดกรองนักเรียน > การส่งเสริมนักเรียน > การป้องกันและแก้ไขปัญหา > การส่งต่อ

33. การคัดกรองนักเรียน ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ต้องแบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม
ค. แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มมีปัญหา กลุ่มเสี่ยง

34. การประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) ถือว่าเป็นขั้นตอนใด ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ก. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

35. การเยี่ยมบ้านนักเรียน ถือว่าเป็นขั้นตอนใด ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ก. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

 

 

ขอขอบคุณ  ผู้แต่ง เว็บไซค์ครูเชียงรายดอทเน็ต

คำที่ค้นหาบ่อย สอบราชการ สอบ สอบ กพ. ติวสอบ เตรียมสอบ แนวข้อสอบ สอบท้องถิ่น สมัครสอบ ท้องถิ่น อบต. เทศบาล ประกาศสอบ งานราชการ กศน. สมัครสอบ กศน. ข้าราชการ ครู กศน. ครูผู้ช่วย นักจดการงานทั่วไป นักวิชาการศึกษา คู่มือสอบ สอบตำรวจ ทหาร เปิดสอบ สอบ ทดสอบ ข้อสอบ GAT PAT O-NET N-NET