แนวข้อสอบครูผู้ช่วย หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ล่าสุด

แนวข้อสอบหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร

1. หลักสูตร คือ มวลประสบการณ์ทั้งปวงชนที่จัดให้ผู้เรียนได้รับ เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในแนวทางที่พึ่งปรารถนาทั้งพฤติกรรมความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และค่านิยมต่างๆ จากข้อความข้างต้นมีความหมายตรงกับหัวข้อใด
ก. ความหมายของหลักสูตร
ข. การพัฒนาหลักสูตร
ค. ประเภทของหลักสูตร
ง. กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

2. การจัดทำหลักสูตร การปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ดีขึ้น เพื่อให้เหมาะกับความต้องการของบุคคล และสภาพสังคม จากข้อความข้างต้นมีความหมายตรงกับหัวข้อใด
ก. ความหมายของหลักสูตร
ข. การพัฒนาหลักสูตร
ค. ประเภทของหลักสูตร
ง. กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

3. กระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ตามความเชื่อที่ว่าผู้เรียนมีพื้นฐานแตกต่างกัน โดยกำหนดกระบวนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 7 ขั้นตอน จากข้อความข้างต้นมีความหมายตรงกับหัวข้อใด
ก. ความหมายของหลักสูตร
ข. การพัฒนาหลักสูตร
ค. ประเภทของหลักสูตร
ง. กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

4. ทาบา (Taba) ได้กล่าวถึง กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ไว้กี่ขั้นตอน
ก. 3 ขั้นตอน
ข. 5 ขั้นตอน
ค. 7 ขั้นตอน
ง. 9 ขั้นตอน

5. จงเรียงลำดับขั้นตอนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ ทาบา Taba
1. กำหนดสิ่งที่จะประเมินและวิธีการประเมินผล
2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้
3. คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้
4. จัดเนื้อหาสาระ
5. คัดเลือกเนื้อหาสาระ
6. กำหนดจุดมุ่งหมาย
7. วินิจฉัยความต้องการ

ก. 4,3,2,1,7,6,5
ข. 7,6,5,4,3,2,1
ค. 1,2,5,6,73,4
ง. 1,2,3,4,5,6,7

6. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชาหรือแบบรายวิชา มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. เป็นหลักสูตรที่นำเนื้อหาต่างๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันและมีส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันจัดไว้ด้วยกัน
ข. เป็นหลักสูตรที่ยึดเอาสังคมและชีวิตของเด็กเป็นหลัก
ค. เป็นหลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา
ง. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน

7. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. เป็นหลักสูตรที่นำเนื้อหาต่างๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันและมีส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันจัดไว้ด้วยกัน
ข. เป็นหลักสูตรที่ยึดเอาสังคมและชีวิตของเด็กเป็นหลัก
ค. เป็นหลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา
ง. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน

8. หลักสูตรแบบหมวดวิชาหรือสหสัมพันธ์ มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. จุดมุ่งหมาย ผสมผสานเนื้อหาวิชา เช่น หลักสูตรประถมศึกษา และหลักสูตรมัธยมศึกษา
ข. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ค. เป็นหลักสูตรที่ยึดเอาสังคมและชีวิตของเด็กเป็นหลัก
ง. เป็นหลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา

9. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. จุดมุ่งหมาย ผสมผสานเนื้อหาวิชา เช่น หลักสูตรประถมศึกษา และหลักสูตรมัธยมศึกษา
ข. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ค. เป็นหลักสูตรที่ยึดเอาสังคมและชีวิตของเด็กเป็นหลัก
ง. เป็นหลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา

10. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. จุดมุ่งหมาย ผสมผสานเนื้อหาวิชา เช่น หลักสูตรประถมศึกษา และหลักสูตรมัธยมศึกษา
ข. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ค. เป็นหลักสูตรที่ยึดเอาสังคมและชีวิตของเด็กเป็นหลัก
ง. เป็นหลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา

11. หลักสูตรแกนกลาง มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ข. จัดเนื้อหาตามความเหมาะสมและความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคล แนวคิดจาดปรัชญา อัตถิภาวนานิยม
ค. หลักสูตรแบบนี้จะกำหนดวิชาใดวิชาหนึ่งเป็นศูนย์กลาง
ง. เป็นการผสมผสานเนื้อหาเข้าด้วยกัน ไม่แยกเป็นรายวิชาจะเน้นที่ตัวเด็ก และปัญหาสังคมเป็นสำคัญ

12. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ข. จัดเนื้อหาตามความเหมาะสมและความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคล แนวคิดจาดปรัชญา อัตถิภาวนานิยม
ค. หลักสูตรแบบนี้จะกำหนดวิชาใดวิชาหนึ่งเป็นศูนย์กลาง
ง.เป็นการผสมผสานเนื้อหาเข้าด้วยกัน ไม่แยกเป็นรายวิชาจะเน้นที่ตัวเด็ก และปัญหาสังคมเป็นสำคัญ

13. หลักสูตรบูรณาการ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เป็นหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรแบบรายวิชาที่ไม่คำนึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
ข. จัดเนื้อหาตามความเหมาะสมและความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคล แนวคิดจาดปรัชญา อัตถิภาวนานิยม
ค. หลักสูตรแบบนี้จะกำหนดวิชาใดวิชาหนึ่งเป็นศูนย์กลาง
ง. เป็นการผสมผสานเนื้อหาเข้าด้วยกัน ไม่แยกเป็นรายวิชาจะเน้นที่ตัวเด็ก และปัญหาสังคมเป็นสำคัญ

14. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนด้านใด
ก. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ข. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย มีจิตสำนึกในความเป็น
พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอด
ชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็ม
ตามศักยภาพ
ค. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ง. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคน
สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

15. ข้อใดไม่ใช่จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ก. มีความรู้
ข. มีคุณธรรม
ค. มีความรู้การเงิน
ง. มีความรักชาติ

16. Curriculum Development คือข้อใด
ก. การสร้างหลักสูตร
ข. การพัฒนาหลักสูตร
ค. การแก้ไขหลักสูตร
ง. การเพิ่มเนื้อหาหลักสูตร

17. หลักสูตร คือ มวลประสบการณ์ทั้งปวงชนที่จัดให้ผู้เรียนได้รับ เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในแนวทางที่พึ่งปรารถนาทั้งพฤติกรรมความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และค่านิยมต่างๆ สรุปตามความหมายนี้ ตรงกับข้อใด
ก. หลักสูตร คือ การวางแผนเตรียมการเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ข. หลักสูตร คือ การวางแผนเตรียมการเพื่อการจัดการบริหารสถานศึกษา
ค. หลักสูตร คือ การวางแผนการสอนเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ง. หลักสูตร คือ การวางแผนเตรียมการเพื่อการจัดการระบบสถานศึกษา

18. The Core Curriculum คือข้อใด
ก. หลักสูตรแกนกลาง
ข. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ
ค. หลักสูตรบูรณาการ
ง. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม

19. The Integrated Curriculum คือข้อใด
ก. หลักสูตรแกนกลาง
ข. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ
ค. หลักสูตรบูรณาการ
ง. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม

20. The Individual Curriculum คือข้อใด
ก. หลักสูตรแกนกลาง
ข. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ
ค. หลักสูตรบูรณาการ
ง. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม

คำที่ค้นหาบ่อย สอบราชการ สอบ สอบ กพ. ติวสอบ เตรียมสอบ แนวข้อสอบ สอบท้องถิ่น สมัครสอบ ท้องถิ่น อบต. เทศบาล ประกาศสอบ งานราชการ กศน. สมัครสอบ กศน. ข้าราชการ ครู กศน. ครูผู้ช่วย นักจดการงานทั่วไป นักวิชาการศึกษา คู่มือสอบ สอบตำรวจ ทหาร เปิดสอบ สอบ ทดสอบ ข้อสอบ GAT PAT O-NET N-NET